รายงานประจำปีเป็นสื่อเผยแพร่สาธารณะ ที่องค์กรใช้เผยแพร่ให้กับผู้ถือหุ้น และบุคคลที่เกี่ยวข้อง
สืบเนื่องจาก เนื้อหาสาระ ของรายงานประจำปี จะเกี่ยวข้องกับการแสดงผลทางตัวเลข อาทิ ข้อมูลสรุปยอดขาย
ข้อมูลสรุปเปรียบเทียบต่างๆ เป็นต้น ส่งผลให้ กราฟ มีส่วนสำคัญ ในการร่วมใช้ในการ ออกแบบรายงานประจำปี
โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้ ผู้อ่าน สามารถเปรียบเทียบ ขัอมูลทางตัวเลขได้อย่างสะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น
ประเภทของกราฟ ที่นิยม นำมาใช้ในการออกแบบรายงานประจำปี
1.กราฟแท่ง
เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างทางปริมาณ
ลักษณะ
1. ทุกแท่งมีความกว้างเท่ากัน
2. ความยาวของแต่ละแท่งขึ้นกับจำนวนที่เปรียบเทียบ
2. กราฟเส้น
ดูการเปลี่ยนแปลงเมื่อ เวลา
หรือสถานการณ์เปลี่ยน
ลักษณะ
ความสูง/ต่ำ ของเส้นกราฟ
ขึ้นกับปริมาณจำนวนที่เก็บ
ข้อมูลได้
3. กราฟเรดาห์
แสดงภาพรวมทั้งหมดของ
สิ่งที่สนใจศึกษา กับปริมาณ
ที่เกิดขึ้นจริง
ลักษณะ
กำหนดหัวข้อที่วัดค่าได้ แล้ว
แสดงค่าในแต่ละเรื่อง จะช่วย
ให้มองเห็นภาพรวม และเข้าใจ
กราฟเรดาห์ ได้ง่ายขึ้น
4. กราฟวงกลม
แสดงสัดส่วนของข้อ
มูลที่ต่างกัน
ลักษณะ
เป็นภาพวงกลมแยกเป็นสัดส่วนตาม
ปริมาณที่เกิดขึ้นในแต่ละเรื่อง ช่วย
ให้เข้าใจความสัมพันธ์ของสัด ส่วน
ได้ง่าย
5. กราฟเข็มขัด หรือ กราฟแถบ
แสดงสัดส่วนของข้อมูลที่
ต่างกัน ในแต่ละช่วงเวลา
ลักษณะ
เป็นเส้นเข็มขัด หรือคล้ายกราฟแท่ง
แนวนอน แต่แยกเป็นสัดส่วนตาม
ปริมาณที่เกิดขึ้นในแต่ละเรื่องช่วย
ให้เข้าใจความสัมพันธ์ของสัด ส่วน
ได้ง่ายขึ้น
ทั้งนี้การเลือกใช้กราฟ นอกจากเลือกใช้ ประเภทกราฟที่ถูกต้อง และเหมาะสมกับเนื้อหา สารสนเทศ ที่นำเสนอแล้วนั้น การออกแบบรายงานประจำปี ก็ควรคำนึงถึง
การใช้สี ซึ่งควรจะสามารถแยกแยะ ข้อมูลเปรียบเทียบของกราฟในแต่ละข้อมูล ได้อย่างชัดเจน ไม่ควรใช้สีของกราฟ ที่กลมกลืนกัน แยกแยะความแตกต่างได้ยาก รวมถึง
ต้องคำนึงถึง จุดเด่น ต่างๆ (Hightlight) ที่องค์กรต้องการให้ผู้อ่าน เข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการนำเสนอ ซึ่งสีสันของกราฟนั้น ก็ต้องนำเสนอให้ดึงดูดผู้อ่าน
รายงานประจำปี แบบ 56-1 One Reportเป็นสื่อเผยแพร่สาธารณะ ที่องค์กรใช้เผยแพร่ให้กับผู้ถือหุ้น และบุคคลที่เกี่ยวข้อง
สืบเนื่องจาก เนื้อหาสาระ ของรายงานประจำปี จะเกี่ยวข้องกับการแสดงผลทางตัวเลข อาทิ
ข้อมูลสรุปยอดขาย ข้อมูลสรุปเปรียบเทียบต่างๆ เป็นต้น ส่งผลให้ กราฟ มีส่วนสำคัญ ในการ
ร่วมใช้ในการออกแบบรายงานประจำปี แบบ 56-1 One Report โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้ ผู้อ่าน สามารถเปรียบเทียบ
ขัอมูลทางตัวเลขได้อย่างสะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น
สืบเนื่องจาก เนื้อหาสาระ ของรายงานประจำปี จะเกี่ยวข้องกับการแสดงผลทางตัวเลข อาทิ
ข้อมูลสรุปยอดขาย ข้อมูลสรุปเปรียบเทียบต่างๆ เป็นต้น ส่งผลให้ กราฟ มีส่วนสำคัญ ในการ
ร่วมใช้ในการออกแบบรายงานประจำปี แบบ 56-1 One Report โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้ ผู้อ่าน สามารถเปรียบเทียบ
ขัอมูลทางตัวเลขได้อย่างสะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น
1.กราฟแท่ง
เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างทางปริมาณ
เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างทางปริมาณ
ลักษณะ
- ทุกแท่งมีความกว้างเท่ากัน
- ความยาวของแต่ละแท่งขึ้นกับจำนวนที่เปรียบเทียบ
........................................................................................................................................................
2. กราฟเส้น
ดูการเปลี่ยนแปลงเมื่อ เวลาหรือสถานการณ์เปลี่ยน
ลักษณะ
ความสูง/ต่ำ ของเส้นกราฟขึ้นกับปริมาณจำนวนที่เก็บข้อมูลได้
........................................................................................................................................................
3. กราฟเรดาห์
แสดงภาพรวมทั้งหมดของสิ่งที่สนใจศึกษา กับปริมาณที่เกิดขึ้นจริง
ลักษณะ
กำหนดหัวข้อที่วัดค่าได้ แล้วแสดงค่าในแต่ละเรื่อง จะช่วยให้มองเห็นภาพรวม และเข้าใจกราฟเรดาห์ ได้ง่ายขึ้น
............................................................................................................................................................
4. กราฟวงกลม
แสดงสัดส่วนของข้อมูลที่ต่างกัน
ลักษณะ
เป็นภาพวงกลมแยกเป็นสัดส่วนตามปริมาณที่เกิดขึ้นในแต่ละเรื่อง ช่วยให้เข้าใจความสัมพันธ์ของสัด ส่วนได้ง่าย
........................................................................................................................................................
5. กราฟเข็มขัด หรือ กราฟแถบ
แสดงสัดส่วนของข้อมูลที่ต่างกัน ในแต่ละช่วงเวลา
ลักษณะ
เป็นเส้นเข็มขัด หรือคล้ายกราฟแท่งแนวนอน แต่แยกเป็นสัดส่วนตามปริมาณที่เกิดขึ้นในแต่ละเรื่อง
ช่วยให้เข้าใจความสัมพันธ์ของสัด ส่วนได้ง่ายขึ้น
ช่วยให้เข้าใจความสัมพันธ์ของสัด ส่วนได้ง่ายขึ้น
ทั้งนี้การเลือกใช้กราฟ นอกจากเลือกใช้ ประเภทกราฟที่ถูกต้อง และเหมาะสมกับเนื้อหา สารสนเทศ
ที่นำเสนอแล้วนั้น ออกแบบรายงานประจำปี แบบ 56-1 One Report ก็ควรคำนึงถึงการใช้สี ซึ่งควรจะสามารถแยกแยะ ข้อมูล
เปรียบเทียบของกราฟในแต่ละข้อมูล ได้อย่างชัดเจน ไม่ควรใช้สีของกราฟ ที่กลมกลืนกัน แยกแยะ
ความแตกต่างได้ยาก รวมถึงต้องคำนึงถึง จุดเด่น ต่างๆ (Hightlight) ที่องค์กรต้องการให้ผู้อ่าน
เข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการนำเสนอ ซึ่งสีสันของกราฟนั้น ก็ต้องนำเสนอให้ดึงดูดผู้อ่าน
เขียนโดย อานนท์ อาภาเขต
จำนวนผู้อ่าน 48690 ท่าน